กล่องข้อความ: 		7-50100-001-114  		  ชื่อพื้นเมือง	:  ไทรย้อยใบแหลม,ไทร ,ไทรกระเบื้อง ,ไทรย้อย  ชื่อวิทยาศาสตร์	:  Ficus benjamina L.  ชื่อวงศ์	:  MORACEAE  ชื่อสามัญ	:  Weeping Fig  ประโยชน์	:  ราก เป็นยาบำรุงน้ำนม ขับปัสสาวะ แก้ไตพิการ อาการปัสสาวะปวด หรือกะปริบกะปรอย หรือขุ่นข้น สีเหลืองเข้ม หรือมีเลือด แก้กษัย
บริเวณที่พบ : โรงอาหาร บริเวณเสาธง
ลักษณะพิเศษของพืช : ไม้ประดับให้ร่มเงา
ลักษณะทั่วไป
ต้น : เป็นไม้ยืนต้นสูง 5 – 10 เมตร มีรากอากาศ เปลือก  สีน้ำตาล กิ่งก้านห้อยย้อยลง โตช้า มีรากอากาศห้อยย้อยสวยงาม
ใบ : เดี่ยวเรียงสลับ แผ่นใบรูปรีแกมรูปไข่  กว้าง   2.5 - 5  เซนติเมตร  ยาว 5 - 11 เซนติเมตร ปลายเรียวแหลม
โคนสอบแผ่นใบค่อนข้างหนาเป็นมัน
ดอก :ออกดอกเป็นช่อตามซอกใบเกิดภายในฐานรองดอก ทรงกลมคล้ายผลไม่มีกลีบดอก 
ผล :รูปกลม เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ  0.8   เซนติเมตร  เมื่อสุกสีแดงเข้ม
ประโยชน์  : ปลูกประดับ ให้ร่มเงา ผล เป็นอาหารของนก และสัตว์ป่า  รากอากาศเป็นยาขับปัสสาวะ แก้ไตพิการ บำรุงน้ำนม 
ถิ่นกำเนิด : ทวีปเอเชีย  ชอบแสงแดดจ้า ต้องการน้ำและความชื้นปานกลาง เป็นพันธุ์ไม้กลางแจ้ง
ลักษณะวิสัย

กลับหน้าหลัก
ลำต้น
ใบ

 

สรุปลักษณะและข้อมูลพรรณไม้
ชื่อพรรณไม้    ไทรย้อยใบแหลม , ไทร , ไทรกระเบื้อง , ไทรย้อย     รหัสพรรณไม้   7-50100-001-114